PM vs TMS ต่างกันยังไง? บริการหลังการเช่าที่เจ้าของทรัพย์ควรรู้!
เดี๋ยววันนี้จะมาเทียบความแตกต่างแบบชัด ๆ
✅จัดทำใบแจ้งหนี้
✅จัดการบำรุงรักษาและซ่อมแซม (ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว)
✅ตรวจสอบสภาพทรัพย์สินอย่างสม่ำเสมอ
✅วางแผนงบประมาณ
✅ดูแลบัญชี และรายงานการเงิน
✅การหาผู้เช่าใหม่
✅ทำสัญญาเช่า
✅รับมือกับข้อร้องเรียนและจัดการข้อพิพาท
✅ประสานงานกับผู้รับเหมา
✅บริษัทดูแลสวน หรือระบบรักษาความปลอดภัย ฯลฯ
เน้นการดูแล "ทรัพย์สิน" เป็นหลัก เช่น คอนโดทั้งอาคาร, วิลล่าให้เช่าทั้งหลัง, หรืออพาร์ตเมนต์ทั้งโครงการ
✅ตอบคำถามหรือให้ข้อมูลผู้เช่า
✅ช่วยจัดการเรื่องเอกสารเช่นการต่อสัญญา
✅ดูแลการเข้า-ออกของผู้เช่า
✅แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างผู้เช่า (ในกรณีที่ดูแลหลายยูนิต)
บางกรณีอาจรวมถึงบริการแนะนำไลฟ์สไตล์ เช่น บริการแม่บ้าน ซักรีด ฯลฯ
มักใช้ในกรณีที่เจ้าของปล่อยเช่าระยะยาว และไม่อยู่ในพื้นที่เอง เช่น เจ้าของต่างชาติที่มีคอนโดปล่อยเช่าในไทย
เป้าหมายหลัก : รักษาสภาพทรัพย์สินและผลตอบแทน
เหมาะกับ : เจ้าของที่ไม่ต้องการยุ่งเองเลย
เป้าหมายหลัก : สร้างความพึงพอใจให้ผู้เช่า
เหมาะกับ : เจ้าของที่จัดการทรัพย์สินเอง แต่อยากให้คนดูแลผู้เช่า
ความซับซ้อนและประเภทอสังหาฯ เช่น คอนโด 1 ห้องกับอาคารสำนักงานหลายชั้นจะมีเรทที่แตกต่างกัน
บางบริษัทอาจเสนอราคาพิเศษ ถ้าเจ้าของมีหลายยูนิตในโครงการเดียวกัน เช่น คอนโดหลายห้องในตึกเดียว
Property Management
ค่าบริการอาจอยู่ที่ 1,500 – 2,000 บาท/เดือน
Tenant Management
อาจอยู่แค่ 800 – 1,200 บาท/เดือน